แผนชุมชุน


ส่วนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไป
วิสัยทัศน์
บ้านป่าโมง  หมู่ที่ ๑๖  ตำบลภูเงิน     

บ้านป่าโมง  ดงดินแดง   แหล่งผลไม้  ทำไร่เลี้ยงวัว  ปลูกผักสวนครัว  สวนยางพารา  กลุ่มออมทรัพย์ก้าวหน้า มีร้านค้าชุมชน     ทุกคนสามัคคี        มีกองทุนบูรณาการ สืบสานประเพณีกลองยาว

            ประวัติหมู่บ้าน
               บ้านป่าโมง หมู่ที่ 16 ตำบลภูเงิน อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ เดิมอยู่ในเขตการปกครองของบ้านภูเงิน หมู่ที่ 6 ตำบลภูเงิน เมื่อปี .. 2509 ได้มีครอบครัวของนายสน ประจญยุทธ และครอบครัว นายทน ทอนทับ อพยพย้ายถิ่นฐานมาจากบ้านป่าโมงใหญ่ อำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี ได้มาซื้อที่ดินในหมู่บ้านภูเงินเพื่อทำไร่ข้าวโพด ในสมัยนั้นพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่า ราคาที่ดินไม่แพง ประมาณไร่ละ 300 บาท และเรียกชื่อคุ้มของตนเองว่า กลุ่มป่าโมง  ซึ่งเป็นชื่อเดิมของบ้านที่ย้ายมา ต่อมา ปี .. 2530 มีจำนวนครัวเรือนย้ายเข้ามาอยู่เพิ่มมากขึ้น ชาวบ้านจึงได้ปรึกษากันร่วมกับกำนันตำบลภูเงินในสมัยนั้น (นายเสวย แก้วปัญญา)เพื่อขอแยกหมู่บ้านใหม่ออกจากบ้านภูเงิน และใช้ชื่อหมู่บ้านว่า บ้านป่าโมงมีผู้ใหญ่บ้านคนแรก คือ นายวอน สิทธิจินดา มีนายสี กาลวัน นายสลิด ไหลลิน เป็นผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน มีผู้ทรงคุณวุฒิประจำหมู่บ้าน คือ นายสำอาง สมดี ในขณะที่นายวอน สิทธิจินดา ดำรงตำแหน่งผู้ใหญ่บ้านได้ริเริ่มจัดตั้งกลุ่มและสนับสนุนให้มีกลุ่มองค์กรต่าง ขึ้นในหมู่บ้าน เช่น กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต กลุ่มสตรี กลุ่มฌาปณกิจสงเคราะห์ กลุ่มอาชีพเลี้ยงโค กลุ่มกองทุนหมู่บ้าน กลุ่ม อสม. กลุ่มประเพณีวัฒนธรรม ดำเนินการจัดตั้งศูนย์สงเคราะห์ราษฎรประจำหมู่บ้าน และร้านค้าชุมชน ในปี .. ๒๕๔๕ นายวอน สิทธิจินดา มีสุขภาพไม่แข็งแรง จึงได้ลาออกจากตำแหน่งผู้ใหญ่บ้าน โดยมี นายสนอง ภูระยา เป็นผู้ใหญ่บ้าน ต่อมา นายสนอง ภูระยา หมดวาระ ได้มีการเลือกตั้งผู้ใหญ่บ้านใหม่ คือ นายบัวศรี แก้วมาคูณ เป็นผู้ใหญ่บ้านจนถึงปัจจุบัน
              ทำเนียบผู้ใหญ่บ้าน
              . นายวอน สิทธิจินดา        ผู้ใหญ่บ้านปี .. ๒๕๓๐-๒๕๔๘ (ลาออก)
              . นายสนอง ภูระยา          ผู้ใหญ่บ้านปี .. ๒๕๔๘-๒๕๕๓
              . นายบัวศรี แก้วมาคูณ       ผู้ใหญ่บ้านปี .. ๒๕๕๓ ถึงปัจจุบัน







1. สภาพทั่วไปของชุมชน
          1.1 ชื่อหมู่บ้านป่าโมง  หมู่ที่ 16 ตำบลภูเงิน อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ
          1.2 ชื่อผู้ใหญ่บ้าน
                   นายบัวศรี แก้วมาคูณ
                   เกิดวันที่ 24 มิถุนายน 2504 
                   เลขบัตร ประชาชน 5-3304-00170-19-0
                   อยู่บ้านเลขที่ 121 บ้านป่าโมง หมู่ที่ 16 ตำบลภูเงิน อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ
          1.3 ลักษณะที่ตั้งของชุมชน
                   ทิศเหนือ                   จด      บ้านภูเงิน หมู่ที่ 6
                   ทิศตะวันออก              จด      บ้านนา หมู่ที่ 3
                   ทิศใต้                       จด      บ้านหิน หมู่ที่ 4
                   ทิศตะวันตก                จด      บ้านภูดิน หมู่ที่ 19
          1.4 ประชากร
                   ชาย     ๑๔๗   หญิง     1๗๖    รวม   3๒๓   คน
          1.5 จำนวนครัวเรือน      8      ครัวเรือน
          1.6 ระยะทาง   ห่างจากอำเภอกันทรลักษ์ 18      กิโลเมตร
                             ห่างจากจังหวัดศรีสะเกษ  49      กิโลเมตร
          1.7 ถนนเข้าสู่หมู่บ้าน     1        เส้นทาง ดังนี้
                   - ถนนหินคลุก    -         กิโลเมตร
                   - ถนนลูกรัง      -         กิโลเมตร
                   - ถนนลาดยางถึงหมู่บ้าน 17  กิโลเมตร
                   - ถนนคอนกรีต            1 กิโลเมตร
          1.8 การประกอบอาชีพในหมู่บ้าน/ชุมชน
                   - ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
1.9  รายได้เฉลี่ยครัวเรือนตามเกณฑ์ จปฐ. ปี 255  จำนวน ๙๗๑๔๑ บาท/คน/ปี
1.10 ภาษาท้องถิ่นที่ใช้ ภาษาไทยอีสาน

2. ข้อมูลประชากร
ตารางข้อมูลแสดงถึงสมาชิกที่อาศัยอยู่ในครัวเรือนระดับหมู่บ้าน
บ้านป่าโมง หมู่ที่ 16 ตำบลภูเงิน อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ
ที่
ข้อมูลครัวเรือนที่มีสมาชิกอาศัยอยู่ด้วยกัน(ระบุเป็นจำนวนคน)
จำนวนประชากร
หมายเหตุ
ชาย
หญิง
รวม
1
จำนวนสมาชิกในหมู่บ้าน
14
1๗๖
3๒๓

2
แรงงานที่ไปอาศัยต่างถิ่น




3
แรงงานตกงานมาอยู่บ้าน
-
-
-

4
คนชรา (อายุตั้งแต่60 ปีขึ้นไป)




5
เด็กที่อยู่ในวัยเรียน





- ประถม





- มัธยมต้น





- มัธยมปลาย





- ปริญญาตรี/โท/เอก




6
จำนวนผู้ไม่รู้หนังสือ




7
จำนวนผู้จบการศึกษาระดับประถม





ที่ไม่ได้เรียนต่อ





3. ข้อมูลทางเศรษฐกิจ
              3.1 ตารางการประกอบอาชีพของประชากรในหมู่บ้าน

ครัวเรือนที่ประกอบอาชีพ
จำนวนผู้ประกอบอาชีพ
หมายเหตุ
คน
ครัวเรือน
1
อาชีพทำสวน
165
78

2
อาชีพทำนา
26
12

3
อาชีพรับจ้างทั่วไป
33
18

4
อาชีพค้าขาย
11
6

5
อาชีพเลี้ยงสัตว์
26
26

6
อาชีพรับราชการ
5
4

7
อาชีพทำไร่
165
78

8
อาชีพอื่น ๆ
31
28

              3.2 การประกอบอาชีพของประชากรในหมู่บ้าน
ที่
ครัวเรือนที่ประกอบอาชีพ
จำนวนผู้ประกอบอาชีพ
หมายเหตุ
คน
ครัวเรือน
1
ประกอบอาชีพอย่างเดียว
5
4

2
ประกอบอาชีพหลายอย่าง
212
78

3
คนว่างงานในชุมชน
-
-

              3.3 ตารางแสดงที่มาของรายได้
ที่มาของรายได้จากการประกอบอาชีพ
จำนวนครัวเรือน
จำนวนรายได้/ปี
ปัญหาที่สำคัญของประชาชนในหมู่บ้าน
1.ขายผลผลิตพืชสวน
8
2,464000
 -ราคาผลผลิตตกต่ำ
2. ขายผลผลิตจากการทำนา
8
797,000
 -ต้นทุนการผลิตสูง
3.ขายผลผลิตพืชไร่



4.ขายผลผลิตสัตว์เลี้ยง



5.การค้าขาย



6.การรับจ้าง
 


7.เงินเดือน/ค่าตอบแทน

  

8.จากลูกส่งมาให้



9.รายได้อื่น ๆ
 -
 -

10.รวมรายได้




              3.4 ตารางแสดงรายได้ รวมเฉลี่ยต่อครัวเรือน/ต่อคน/ต่อปีในหมู่บ้าน
รายได้จากการประกอบอาชีพของประชาชน
จำนวน (บาท)
1.รายได้รวมทั้งหมู่บ้าน

2.รายได้เฉลี่ย/ครัวเรือน/ปี

3.รายได้เฉลี่ย/คน/ปี


              3.5 ตารางแสดงภาวะหนี้สินของประชาชนในหมู่บ้าน
 ภาวะหนี้สินของประชาชนในหมู่บ้าน
จำนวนหนี้สิน (บาท)/ต่อครัวเรือน
1.รายหนี้สิน

2.หนี้สินเฉลี่ยต่อครัวเรือน

3.หนี้สินเฉลี่ยต่อคน 

             
              3.6 ตารางสรุปรายจ่ายของหมู่บ้าน
ประเภทรายจ่าย
จำนวนเงิน(บาท/ปี)
 1.รายจ่ายต้นทุนการผลิต

     1.1 ค่าพันธ์พืช

     1.2 ค่าสารเคมีเพื่อการผลิต

     1.3 ค่าจ้าง/แรงงาน/ค่าเช่า

     1.4 ค่าเครื่องจักรต่าง /ค่าน้ำมัน

2.รายจ่ายค่าใช้จ่ายในการอุปโภคบริโภค

    2.1 ค่าอาหารที่จำเป็น

   2.2 ค่าซื้อข้าวสาร

   2.3 ซื้อขนม

   2.4 เครื่องแต่งกาย

   2.5 ค่าที่อยู่อาศัย

   2.6 ค่าน้ำมันรถเดินทาง/โดยสาร

   2.7 ค่าน้ำ/ค่าไฟฟ้า

   2.8 ค่าโทรศัพท์/บัตรเติมเงิน

   2.9 ค่าใช้จ่ายส่วนตัว(สบู่ ยาสีฟัน ฯลฯ)

   2.10 ค่าบันเทิง หวย การพนัน

  2.11 ค่าเหล่า/ค่าบุหรี่

  2.12 ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ

รวมค่าใช้จ่าย

4. ทุนทางสังคม
              4.1 ข้อมูลกลุ่ม/องค์กร ในชุมชนของท่าน
                    
ลำดับที่
กลุ่ม/องค์กรชุมชน
จำนวนสมาชิก
เงินทุนหมุนเวียน
ประธานกลุ่ม
จัดตั้งขึ้นเมื่อ
กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต
๑๕๓
,๗๓๕,๙๐๐
นางสมัย สมดี
๕ มกราคม ๒๕๓๘
กองทุนหมู่บ้าน ๑ ล้านบาท
๗๒
,๕๐๐,๐๐๐
นายวีระชาติ สมดี
กรกฎาคม ๒๕๔๔
ศูนย์สาธิตการตลาด
๑๑๘
๒๒๓,๑๙๐
นายบัวศรี แก้วมาคูณ
๕ เมษายน ๒๕๔๖
ศูนย์สงเคราะห์ประจำหมู่บ้าน
๑๐๐
๑๐๐,๐๐๐
นายเชียง ศรีเมือง
๒๕๓๖
กองทุนฌาปนกิจสงเคราะห์  
๙๕    
,๗๕๐  
นายสาคร ภูระยา
๒๕๓๑
กองทุนปุ๋ย       
๘๔
๒๐๐,๐๐๐ 
นายสนอง ภูระยา
๒๕๔๙
กลุ่มเต้นเช่า     
๘๔
๔๒,๐๐๐  
นางสาวเกษวดี สารีเกิด
๒๕๔๘
กลุ่มสตรี    
๑๐๐
๓๐,๐๐๐
นางมณีวรรณ อรุณเรือง
๒๕๓๘
กลุ่มเลี้ยงโค 
๒๐
๒๐๐,๐๐๐
นายเชียง ศรีเมือง
๒๕๔๕
๑๐
กลุ่มสืบสานวัฒนธรรมกลองยาว 
๒๐
,๔๐๐
นายทองดำ พรหมแสง
๒๕๓๗
๑๑
กองทุนชุมชนพอเพียง 
๘๔
๒๐๐,๐๐๐
นายสนอง ภูระยา
๒๕๕๐
๑๒
กลุ่มเยาวชน
๒๕
-
นายประสิทธิ์ คำภานันท์
๒๕๓๔
๑๓
ชมรมผู้สูงอายุ
๒๕
-
นายวอน สิทธิจินดา
๒๕๕๒
๑๔
กองทุนสวัสดิการชุมชน วันบาท
๑๐๘
๑๓,๑๔๐
นางประจงจิตร แสนโท
๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔

รวมเงินทุนหมุนเวียน

,๑๕๓,๓๕๐


              4.2 จารีตประเพณี/วัฒนธรรม/กิจกรรมของชุมชน
ที่
จารีตประเพณี/วัฒนธรรม/กิจกรรมในชุมชน
จัดระหว่างเดือน
1
ทำบุญวันขึ้นปีใหม่
1 มกราคม
2
ประเพณีบุญข้าวจี่
กุมภาพันธ์
 3
วันสงกรานต์-วันผู้สูงอายุ
13-15 เมษายน
4
บุญพระเวส
เมษายน-พฤษภาคม
5
บุญเข้าพรรษา
กรกฎาคม (ขิ้น 15 ค่ำ เดือน 8)
6
บุญสังฆทาน
กันยายน
7
ออกพรรษา
ตุลาคม (ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11)
8
บุญเทศมหาชาติ
ตุลาคม
9
บุญกฐิน
ตุลาคม-พฤศจิกายน



              4.3 ผู้รู้/ภูมิปัญญาท้องถิ่น/ปราชญ์ชาวบ้าน
ลำดับที่
ชื่อ-สกุล
ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้
ความรู้/ความสามารถ
1.
2.
3.
4.
5
6
7
8
 นายวอน สิทธิจินดา
นายทองแดง สุริโย
นายทองดำ พรมแสง
นางทองปน ไหลลิน
นางบัวสอน พิมพ์พรหมมา
นางสมร ศรีสุธรรม
นางอารอน พิมพ์กาล
นางประจงจิตร แสนโท
496 .16
111 .16
40 .16
120 .16
583 .16
487 .16
487 .16
590 .16
 พิธีกรรม.บายศรีสู่ขวัญ
หมอพื้นบ้าน
หมอพิน
การทำอาหาร
การทำอาหาร
การทำอาหาร
ตะกร้าพลาสติก
ทำพานบายศรีสู่ขวัญ
              4.4. ทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญของชุมชน
ที่
 ประเภททรัพยากร
1
ดินแดงพิมาย
              4.5.  แหล่งน้ำธรรมชาติ
ที่
จารีตประเพณี/วัฒนธรรม/กิจกรรมในชุมชน
ชื่อแหล่งน้ำ
1
แหล่งน้ำซับ
น้ำซับ
              4.6. แหล่งน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค
ที่
ประเภท
จำนวน (แห่ง)
หมายเหตุ
1
บ่อบาดาลเอกชน
130

2
บ่อบาดาลสาธารณะ
-

3
 บ่อน้ำตื้นเอกชน
-

4
 บ่อน้ำตื่นสาธารณะ
-

5
 ประปาหมู่บ้าน
2

6
 ถังไฟเบอร์
 -

7
 โอ่งซีเมนต์
-

8
สระน้ำหมู่บ้าน (อ่างเก็บน้ำ)
-

9
ลำคลอง
-

10
ฝายกักเก็บน้ำ
-

11
คลองส่งน้ำ
-





                   4.7 สาธารณะสมบัติของชุมชน/สาธารณูปโภค พานิชย์กรรม และอุตสาหกรรม
ที่
รายชื่อสาธารณะสมบัติ
จำนวน (แห่ง)
หมายเหตุ
1
วัด/สำนักสงฆ์
1

2
ศาลาประชาคม
1

3
  หอกระจายข่าว
1

4
ศูนย์สาธารณะสุขมูลฐาน
1

5
ร้านค้าชุมชน
1

 6
โทรศัพท์สาธารณะ
1

7
ประปาหมู่บ้าน
2

              4.8. ข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวชุมชน
                   -สวนผลไม้ เช่น เงาะ, ทะเรียน, มังคุด, ลองกอง, มะไฟ ฯลฯ
5. ข้อมูลด้านการปกครอง
              1. ผู้ใหญ่บ้าน นายบัวศรี แก้วมาคูณ
              2. ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน   1. นายสมถวิล นิลเกษ
                                      2. นายวิชัย ไหลลิน
              3. สมาชิก อบต.      1. นายวีระชาติ สมดี
                                      2. นายสาคร ภูระยา
              4. แบ่งคุ้มการปกครองของหมู่บ้าน ทั้งหมด 7  คุ้ม ดังนี้
                   คุ้มที่ 1  คุ้มไทยประดิษฐ์                     หัวหน้าคุ้ม        นายสำอางค์ สมดี
                   คุ้มที่ 2  คุ้มสี่แยกเศรษฐกิจก้าวหน้า         หัวหน้าคุ้ม        นายสมถวิล นิลเกษ
                   คุ้มที่ 3  คุ้มประชาสามัคคี                    หัวหน้าคุ้ม        นายจอน สิทธิจินดา
                   คุ้มที่ 4  คุ้มประเพณีกลองยาว               หัวหน้าคุ้ม        นายทองดำ พรมแสง
                   คุ้มที่ 5  คุ้มก้าวหน้านักปราชญ์              หัวหน้าคุ้ม        นายวอน สิทธิจินดา
                   คุ้มที่ 6  คุ้มเจริญพัฒนา                      หัวหน้าคุ้ม        นายสอน หล้าบุดดา
                   คุ้มที่ 7  คุ้มซำนำผาสุก                       หัวหน้าคุ้ม        นายสนอง ภูระยา
              5  . ข้อมูล อปพร.  จำนวน 4  คน ได้แก่
              1.  นายสมถวิล นิลเกษ
              2. นายสมจิตร ลังแก้ว
              3. นายสนั่น สุริโย
              4. นายกัณหา อุทธลี

              6. คณะกรรมการป้องกันและต่อต้านยาเสพติดระดับหมู่บ้าน (กตส.) จำนวน 17    คน ดังนี้
             

ชื่อ-สกุล
หมายเหตุ
1
นายบัวศรี แก้วมาคูณ

2
นายสมถวิล นิลเกษ

3
 นายวิชัย ไหลลิน

4
นายสาคร ภูระยา

5
นายวีระชาติ สมดี

6
นายสำอางค์ สมดี

7
นางสมัย สมดี

8
นางเชียง ศรีเมือง

9
นายวอน สิทธิจินดา

10
นายสอน หล้าบุดดา

11
นายสนอง ภูระยา

12
นายทองดำ พรมแสง

13
นายจอน สิทธิจินดา

14
นายสนั่น สุริโย

15
นางประจงจิตร แสนโท

16
นางมณีวรรณ อรุณเรือง

17
นางธงชัย วงค์ประเทศ

              6. คณะกรรมการหมู่บ้านป่าโมง
                   1. ฝ่ายปกครอง                     นายบัวศรี แก้วมาคูณ
                   2. ฝ่ายพัฒนาส่งเสริมอาชีพ         นางสมัย สมดี
                   3. ฝ่ายรักษาความสงบ              นายสมถวิล นิลเกษ
                   4. ฝ่ายการเงิน                      นายเชียง ศรีเมือง
                   5. ฝ่ายสาธารณสุข                  นางธงชัย วงศ์ประเทศ
                   6. ฝ่ายการศึกษาและวัมนธรรม    นายวอน สิทธิจินดา
                   7. ฝ่ายสวัสดิการ                    นายวิชัย ไหลลิน
                   8. ฝ่ายเด็กสตรีและผู้สูงอายุ        นางอัมพร ศรีสุระ

ผลจากการจัดเวทีวิเคราะห์ข้อมูลชุมชน
๑.ข้อมูล จปฐ. ปี 255
       ข้อมูล จปฐ. ปี ๕๗ ผ่านเกณฑ์  ๓๐ ข้อ ไม่ผ่านเกณฑ์  ๐ ข้อ
       สรุป บ้านป่าโมง เป็นหมู่บ้านที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี

๒. ข้อมูลบัญชี รับ-จ่าย
       รวมรายรับ ๒๗,๐๖๔,๒๐๐ บาท
       รวมรายจ่าย ๙,๑๘๓,๑๐๐ บาท
รายได้เฉลี่ย ๙๗,๑๔๑ บาท/คน/ปี

๓. ข้อมูล กชช ๒ ค. ปี ๕๖
       ๑.มีปัญหามาก ๒ ข้อ
              - คุณภาพน้ำ
              -ด้านการกีฬา
       ๒.มีปัญหาปานกลาง ๔ ข้อ
       ๓.มีปัญหาน้อย ๒๒ ข้อ เป็นหมู่บ้านเร่งรัดการพัฒนา อันดับ ๓
 การวิเคราะห์ข้อมูลชุมชน (เทคนิค swot)
1. การวิเคราะห์ข้อมูลชุมชนด้วยเทคนิค SWOT
           1. จุดแข็งของหมู่บ้าน
              1. 1 มีกลุ่มองค์กรที่หลากหลายและมีความเข้มแข็ง
              1.2 ผลผลิตทางการเกษตรที่หลากหลาย เช่น ยางพารา ,เงาะ, ทะเรียน, ฝรั่ง ฯลฯ
              1.3 มีรายได้ มีอาชีพ ที่เพียงพอในการดำรงชีวิต
              1.4 คนในชุมชนมีความรักความสามัคคี
              1.5 มีแหล่งเงินทุนหมุนเวียนภายในหมู่บ้าน
              1.6 มีศูนย์ที่ทำการกลุ่ม /ร้านค้าชุมชน
              1.7 มีศูนย์เรียนรู้ชุมชน
              1.8 มีวัดเป็นศูนย์รวมจิตใจ
              1.9 มีผู้นำชุมชนที่เข้มแข็ง/มีปราชญ์ชาวบ้าน/ภูมิปัญญาท้องถิ่น
              1.10 มีประเพณีวัฒนธรรมที่ดีงาม
         2. จุดอ่อนของหมู่บ้าน
               2.1 ทรัพยากรน้ำไม่เพียงพอในการเพาะปลูก
              2.2 ไฟฟ้าเพื่อการเกษตรไม่เพียงพอ
              2.3 ค่าใช้จ่ายเพื่อการเกษตรสูง (ต้นทุนในการผลิต เช่น ค่าปุ๋ย/ยาปราบศรัตรูพืช,ค่าไฟฟ้าสูง)
              2.4 ราคาผลผลิตทางเกษตรตกต่ำ
              2.5 การรับรู้ข่าวสารไม่ทั่วถึง
              2.6 พืชผลทางการเกษตรมีโรคระบาด
              2.7 ดินเสื่อม
      
3. โอกาสของหมู่บ้าน
               3.1 เป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบเฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา
              3.2  แกนนำหมู่บ้านได้รับการอบรมตามโครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ
              3.3 ได้ศึกษาดูงานหมู่บ้านต้นแบบ
              3.4 มีหน่วยงานราชการ/องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้การสนับสนุน
       4. ปัญหาอุปสรรคของหมู่บ้าน
               4.1 ไม่สามารถกำหนดราคาผลผลิตทางการเกษตรได้ เช่น ราคาพืชผักสวนครัว/ผลไม้ตามฤดูกาล
              4.2 ขาดการประชาสัมพันธ์หมู่บ้านให้คนภายนอกได้ทราบข้อมูล

การกำหนดเป้าหมายและทิศทางการพัฒนา
แนวทาง/ความต้องการของชุมชน
1. อัตลักษณ์ชุมชน
              อัตลักษณ์ของบ้านป่าโมง หมู่ที่ 16 ตำบลภูเงิน    คือ การเป็นหมู่บ้านต้นแบบของการออมเงิน, การจัดสวัสดิการชุมชน และการบริหารจัดการชุมชน
2. ตำแหน่งการพัฒนาของชุมชน
              บ้านป่าโมง  กำหนดตำแหน่งการพัฒนา คือ  การบูรณาการกองทุนชุมชน และการจัดตั้งสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน
3.ตำแหน่งการพัฒนาอาชีพของชุมชน
              บ้านป่าโมง    กำหนดตำแหน่งการพัฒนาอาชีพ คือ การพัฒนาหมู่บ้านให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ และบ้านพักโฮมสเตย์ และการผลิตยางแผ่นเกรดดี

4. เป้าหมายการพัฒนาหมู่บ้าน
              บ้านป่าโมง   กำหนดเป้าหมายการพัฒนาหมู่บ้าน คือ ต้องการพัฒนาให้เป็นหมู่บ้านที่มีการ บูรณาการกองทุนชุมชน และพัฒนาสู่สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน และการพัฒนาหมู่บ้านสู่แหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ บ้านพักโฮมสเตย์

๕. กำหนดจัดกิจกรรมเปิดเส้นทางการท่องเที่ยวสวนผลไม้บ้านป่าโมง ชิม แชร์ แชะ กิจกรรมแรลลี่จักรยาน “เทศกาลผลไม้และของดี อำเภอกันทรลักษ์” เส้นทางบ้านป่าโมงสู่อำเภอกันทรลักษ์ เพื่อประชาสัมพันธ์สถานที่ท่องเที่ยวอำเภอกันทรลักษ์ ในเชิงการท่องเที่ยวสวนผลไม้ของบ้านป่าโมง หมู่ ๑๖ ตำบลภูเงิน อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ
















ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น